ที่มา: US SIF: The Forum for Sustainable and Responsible investment
“ESG” คือ กรอบการพัฒนาที่ใช้ขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน เกิดจากการรวมตัวของนักลงทุนทั่วโลกของ “UN Principles for Responsible Investment : UN PRI” ภายใต้สหประชาชาติ ให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่าได้ลงทุนมั่นใจ ว่าได้ลงทุนในธุรกิจที่รับผิดชอบเพื่อความยั่งยืนอย่างแท้จริง ประกอบด้วย
การเน้นใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจ
การบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม
การมีนโยบายที่ใช้กำกับดูแลกิจการที่ดี ดำเนินงานอย่างโปร่งใส
การเน้นใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินธุรกิจของบริษัท
องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย SDGs
ซึ่งครอบคลุมการเข้าถึงน้ำอุปโภคบริโภคเพียงพอและได้มาตรฐานสำหรับทุกคน
ที่ประชาชนสามารถเข้าถึง และหาซื้อพลังงานหมุนเวียนได้ง่ายขึ้น เพื่อให้พร้อมต่อการเข้าสู่ยุคแห่งการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
ด้วยการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต ตลอดจนพฤติกรรมของประชาชนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ เพื่อสร้างการบริโภคที่ยั่งยืน
เพื่อควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งต้องมีกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน
โดยต้องคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศทางทะเลให้มีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความยั่งยืนของท้องทะเล
การบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นธรรม และเท่าเทียม รวมถึงดูแลความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ตั้งแต่พนักงานของบริษัทไปจนถึงลูกค้า ชุมชน และผู้ที่ทำงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เช่น ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและสภาพการทำงานที่ปลอดภัย สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของแรงงานความหลากหลาย ความเท่าเทียมกัน และมาตรการต่อต้านการทุจริต รวมถึงมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน รอบด้าน ด้วยการสนับสนุนสังคมในเชิงรุกผ่านการริเริ่มโครงการและกิจกรรมต่างๆ
องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับเป้าหมาย SDGs
เฉพาะในประชากรกลุ่มเปราะบาง ให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรและบริการขั้นพื้นฐาน ตลอดจนรับมือกับภัยพิบัติ และการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงทางเศรษฐกิจและสังคม
ด้วยระบบการบริการสุขภาพที่ทันสมัย เข้าถึงได้ และมีคุณภาพ ซึ่งมีความสำคัญต่อการยกระดับ ความเป็นอยู่ของประชาชนและพัฒนาประเทศ
ครอบคลุม และเท่าทียมสำหรับทุกคน เพื่อเป็นโอกาสในการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
และเพิ่มบทบาทของผู้หญิงและเด็กหญิงทุกคน เพื่อส่งเสริมการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
เพื่อเพิ่มโอกาสความเท่าเทียมในการดำรงชีวิต และยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
การมีนโยบายที่ใช้กำกับดูแลกิจการที่ดี ดำเนินงานอย่างโปร่งใส รวมถึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ต่อต้านการทุจริต รวมถึง มีวิธีการดำเนินงานที่วิธีจัดการความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ตลอดจนดูแลผลประโยชน์ผู้มีส่วน ได้เสีย
องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย SDGs
ด้วยการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิต ตลอดจนพฤติกรรมของประชาชนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ เพื่อสร้างการบริโภคที่ยั่งยืน
เพื่อส่งเสริมสังคมที่สงบสุข
ให้เกิดขึ้นในทุกประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบัน “แนวคิดการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน” โดยใช้กรอบ “ESG” กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง
ทั้งจากบริษัทจดทะเบียนและนักลงทุนทั่วโลก ที่ให้ความสำคัญกับการลงทุนในบริษัทที่มีแนวทางการดำเนินธุรกิจที่คำนึงถึงความยั่งยืน ทั้งของกิจการและสังคมโดยรวม โดยจะใช้ผลการดำเนินงานด้าน “ESG” ของธุรกิจ จากตัวชี้วัดทั้ง 3 ด้านนี้ มาเป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณา เพื่อประเมินความยั่งยืน ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวของธุรกิจ และความสามารถในการสร้างคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย สำหรับการตัดสินใจลงทุน สะท้อนให้เห็นว่า นักลงทุนต้องการลงทุนอย่างมีความรับผิดชอบ และแสวงหาผลตอบแทนที่ไม่ใช่อยู่ในรูปของผลกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องการเห็นการดำเนินงานที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาลของกิจการมากขึ้นด้วย
ปัจจุบัน “แนวคิดการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน” โดยใช้กรอบ “ESG” กำลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ทั้งจากบริษัทจดทะเบียนและนักลงทุนทั่วโลก ที่ให้ความสำคัญกับการลงทุนในบริษัทที่มีแนวทางการดำเนินธุรกิจที่คำนึงถึงความยั่งยืน ทั้งของกิจการและสังคมโดยรวม โดยจะใช้ผลการดำเนินงานด้าน “ESG” ของธุรกิจ จากตัวชี้วัดทั้ง 3 ด้านนี้ มาเป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณา เพื่อประเมินความยั่งยืน ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวของธุรกิจ และความสามารถในการสร้างคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย สำหรับการตัดสินใจลงทุน สะท้อนให้เห็นว่า นักลงทุนต้องการลงทุนอย่างมีความรับผิดชอบ และแสวงหาผลตอบแทนที่ไม่ใช่อยู่ในรูปของผลกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องการเห็นการดำเนินงานที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาลของกิจการมากขึ้นด้วย